ชรัญรักษ์ ปัญญามูลวงษา และ รังสรรค์ โฉมยา.(2562). “อารมณ์ที่เกี่ยวเนื่องทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคของนักศึกษา (Social Emotions Related to Consumption Behaviors of the Students)” Veridian E-Journal,Silpakorn University. Volume 12(4) July - August 2019 . 225 – 245.
รังสรรค์ โฉมยา.(2561).“การศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตัวเองของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2561 : 309 – 317.
ชนมน สุขวงศ์และรังสรรค์ โฉมยา. (2561) .“การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา”วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2561.
ชนมน สุขวงศ์และรังสรรค์ โฉมยา. (2561) .“การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา”วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2561.
มนตรี อินตา และรังสรรค์ โฉมยา. (2561) . "การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมสาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น" วารสารราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561 : 218 - 236.
รังสรรค์ โฉมยา และสมบัติ ท้ายเรือคำ. (2560) . “ปัจจัยเชิงสาเหตุพหุระดับของพฤติกรรมการบริโภคสุราของชาวอีสาน ศึกษาปัจจัยสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมและปัจจัยระดับบุคคล” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 มีนาคม – เมษายน 2560 : 159 – 168.
ดวงดาว แช่มชื่น และ รังสรรค์ โฉมยา. (2560). “การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนสุขภาวะสำหรับสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1” วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1, มกราคม - เมษายน 2560. 96 – 106.
อลิศรา ศรีสร้อย, รังสรรค์ โฉมยาและอรัญ ซุยกระเดื่อง.(2560). “การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น การเรียนรู้แบบการใช้ปัญหาเป็นฐานและการเรียนรู้แบบปกติ” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 23 ฉบับพิเศษ 302 - 314.
อุเทน วิระทูล ศิริศักดิ์ จันฤาไชย และรังสรรค์ โฉมยา. (2560) .“รูปแบบการมีส่วนร่วมการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27” วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ปีที่ 14 ฉบับที่ 66 เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2560. 111 - 124.
วรรณนิภา วงศ์สวาสดิ์ และรังสรรค์ โฉมยา. (2560). “การพัฒนาแนวทางเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24” วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1, มกราคม - เมษายน 2560.
มนตรี อินตา และรังสรรค์ โฉมยา. (2559). “การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการ เรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน.” Rajabhat journal of science, humanities & social science. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2559 : 362- 375.
จีณัญญาพัจน์ โคตรหลักคำ, ศิริศักดิ์ จันฤาไชย และรังสรรค์ โฉมยา.(2559). “แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2559. หน้า 69 – 80.
พิมลพรรณ กุลาสา, ณภัสวรรณ ธนาพงษ์อนันท์ และรังสรรค์ โฉมยา.(2559). “สภาพปัญหาและแนวทางในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 2” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2559. หน้า 110 – 123.
ศศิวรรณ ต้นกันยา, ศิริศักดิ์ จันฤาไชย และรังสรรค์ โฉมยา.(2559). “ปัญหาและแนวทางการนำแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาขั้น พื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2559. หน้า 164 – 177.
Wuttisartkul Yatida, Chomeya Rungson, Kittipichai Wirin.(2015). “Development of the 5 Minds for 21st Century in Nurse Students through Psychological Group Training”
Asian Social Science.
Vol 11, No 15 (2015). 146 – 150.
(Scorpus)
ณิชาพัชร์ สุธรรมวงศ์, ชัยรัตน์ ชูสกุล และรังสรรค์ โฉมยา.(2558). “ผลของการฝึกจินตภาพที่มีต่อเวลาปฏิกิริยา ความเร็วและความวิตก กังวลในนักกรีฑา.มหาสารคาม” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เดือน ตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2558. หน้า 66 – 78.
วราดา ขันตี, เผชิญ กิจระการ และรังสรรค์ โฉมยา.(2556). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เรื่องการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ที่เรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายแบบ PBL กับ TAI” วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ.2556. หน้า 27 – 42.
ภารดี ทองอุทุม. พัฒนานุสรณ์ สถาพรวงศ์ และรังสรรค์ โฉมยา.(2556). “การเปรียบเทียบเจตคติต่อการมีความสัมพันธ์ชู้สาวในวัยเรียนของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่มีลักษณะทางชีวสังคมและจิตลักษณะแตกต่างกัน” วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 5 ฉบับที่ - 3 เดือน กรกฎาคม – สิงหาคม พ.ศ.2556. หน้า 119 – 133.
Chomeya Rungson and Araya Piyakul.(2012). “The Study on Student’s Aggressive Driving Behavior in University : Cross Cultural Research (Thailand, Indonesia, Australia)” Higher Education of Social Science. 3(3) : 26 – 29. (Ebsco)
ถนอมจิต คงพลูเพิ่ม, พนม ลิ้มอารีย์, รังสรรค์ โฉมยา.(2555). “การเปรียบเทียบผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มต่อความฉลาดทางอารมณ์ ระหว่างทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเผชิญความจริงกับ ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเกสตัลท์” วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ.2555. หน้า 75 – 88.
ทิพย์กมล สนสมบัติ, เผชิญ กิจระการ และรังสรรค์ โฉมยา.(2555). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และการคิดวิเคราะห์ ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายกับการเรียนปกติ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6” วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน – มิถุนายน พ.ศ.2555. หน้า 78 – 88.
เกษมสันต์ รจพจน์, สมบัติ ท้ายเรือคำ และรังสรรค์ โฉมยา.(2555). “การเปรียบเทียบความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ ความสามารถด้านการคิดวิพากษ์ของนิสิตระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่มี เพศ ชั้นปีและกุล่มเรียน แตกต่างกัน” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ.2556. หน้า 13 – 29.
ประกอบ เอี้ยงแสนเมือง, รังสรรค์ โฉมยา และบังอร กุมพล.(2555). “รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในจังหวัดนครราชสีมา” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ.2556. หน้า 69 – 81.
รังสรรค์ โฉมยา. (2555). “การสำรวจการรับรู้โอกาสในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนในเขตพื้นที่ห่างไกล ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : กรณีศึกษาเฉพาะกลุ่มที่ด้อยโอกาสทางสังคม” วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 31 ฉบับที่ 3 เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน พ.ศ.2555 : หน้า 119 - 125.
ชยา ภาคภูมิ, สมบัติ ท้ายเรือคำ และรังสรรค์ โฉมยา.(2554). “ทัศนคติของเยาวชนต่อประเพณีของชาติพันธุ์ผู้ไทยและญ้อ” วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม – สิงหาคม พ.ศ.2554 : หน้า : 7 - 18.
ครองทรัพย์ อุตนาม, รังสรรค์ โฉมยา และอรัญ ซุยกระเดื่อง.(2554). “ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความใฝ่รู้ใฝ่เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1” วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ปีที่ 8 ฉบับที่ 36 หน้า : 303 - 308.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์, สมบัติ ท้ายเรือคำ, รังสรรค์ โฉมยา และจรรยา อาจหาญ.(2554).“การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองมหาสารคาม” วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน – มิถุนายน พ.ศ.2554. หน้า 28 – 36.
เบญจพร กาลบุตร, รังสรรค์ โฉมยา และอรัญ ซุยกระเดื่อง.(2554).“การเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคและเจตคติต่อการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนของนักศึกษาในจังหวัดสกลนคร ที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง บุคลิกภาพ และที่พักอาศัยแตกต่างกัน” วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ.2554. หน้า 87 – 93.
Chomeya Rungson.(2010). “Quality of Psychology Test Between Likert Scale 5 and 6 Points”
Journal of Social Sciences. 6(3) : 399 – 403.
(Scorpus)
Chomeya Rungson.(2010). “Aggressive Driving Behavior: Undergraduate Students Study”
Journal of Social Sciences. 6(3) : 411 - 415.
(Scorpus)
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์, สมบัติ ท้ายเรือคำ, รังสรรค์ โฉมยา, จรรยา อาจหาญ และอดุลย์ สนั่นเอื้อเม็งไธสง. (2553).“การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยแบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองมหาสารคาม” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 เดือน ตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2553. หน้า 7 - 14.
วิลาวัลย์ ภูอาราม, รังสรรค์ โฉมยา และวิริณธิ์ กิตติพิชัย.(2553).“การเปรียบเทียบความวิตกกังวล และพฤติกรรมการเผชิญความเครียดของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่มีสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและการเห็นคุณค่าในตนเองแตกต่างกัน” วารสารการบริหารและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ.2555. หน้า 159 - 170.
อินทร์ สีหะวงษ์, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน และรังสรรค์ โฉมยา.(2553).“ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 1” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ.2553. หน้า 249 - 259.
รังสรรค์ โฉมยา.(2553). “การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยา ที่ใช้สเกลการวัดแบบลิเคิร์ท สเกล 5 และ 6 ระดับ” วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ.2553. หน้า : 102 - 110.
โสม รักเกียรติวินัย, ธูปทอง กว้างสวาสดิ์ และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“การเปรียบเทียบการอ่านออกเสียงคล่องและเจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการใช้เทปช่วยและแบบเพื่อนช่วยเพื่อน” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2552. หน้า 58 - 64.
กุหลาบ สิมาชัย, เผชิญ กิจระการ และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“การพัฒนาบทเรียนแบบเว็บเควสท์ เรื่องหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สำหรับนิสิตที่มีลักษณะความเหมาะสมในการเรียนบนเครือข่ายต่างกัน” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2552. หน้า 81 - 89.
บงกาล จันทร์หัวโทน, สมบัติ ท้ายเรือคำ และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“ตัวแปรคัดสรรบางประการที่สัมพันธ์กับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ดเขต 2” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2552. หน้า 47 - 53.
จิตตรา พิกุลทอง, นุชวนา เหลืองอังกูร และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“การวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยที่ส่งเสริมประสิทธิภาพการสอนของครูภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 15. หน้า 249 - 259.
อาภรณ์ บุญมาก, นุชวนา เหลืองอังกูร และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 : การวิเคราะห์พหุระดับ” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 15. หน้า 60 - 66.
จิราลักษณ์ ศิริพงษ์ม สมนึก ภัททิยธนี และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“การเปรียบเทียบเหตุผลเชิงจริยธรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ที่มีความฉลาดทางอารมณ์ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองแตกต่างกัน” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 15. หน้า 74 - 80.
อทิตยา ป้องเศร้าม สมนึก ภัททิยธนี และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“จิตลักษณะและความถนัดทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 15. หน้า 185 - 191.
ณัฐวิมล กาญจนเสนม สมนึก ภัททิยธนี และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 4 ที่มีความรู้สึกเชิงจำนวนและการคิดวิเคราะห์แตกต่างกัน” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 15. หน้า 192 - 198.
ภควดี อาจวิชัย, สมบัติ ท้ายเรือคำ และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“การเปรียบเทียบพฤติกรรมบริโภคนิยมและเจตคติต่อการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในจงหวัดมุกดาหารที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูและมีความเชื่อมั่นในตนเองแตกต่างกัน” วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ.2552. หน้า : 79 – 86.
มัทธราวัลย์ วรหาญ, สมบัติ ท้ายเรือคำ และรังสรรค์ โฉมยา.(2552).“การศึกษาปัจจัยบางประการที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมบริโภคนิยมและการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนิสิตระดับปริญญาตรี” วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ.2552. หน้า : 130 – 144.
ณัฐสุภางค์ ยิ่งสง่า, วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ และรังสรรค์ โฉมยา.(2551).“การเปรียบเทียบการอ่านจับใจความภาษาไทยและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบวัฏจักร...” วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2551. หน้า 64 - 72.
รัชนี เปาะศิริ, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน และรังสรรค์ โฉมยา.(2550).“การวิเคราะห์พหุระดับปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม”วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 13 – 14 พ.ศ.2550. หน้า 129 - 136.
อุสุมา สิงห์กลาง, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน และรังสรรค์ โฉมยา.(2550).“การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร วิชาชีพครูของข้าราชการครู ในจังหวัดมหาสารคาม”วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 13 – 14 พ.ศ.2550. หน้า 137 - 144.
ธีร์กัญญา โอชรส, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน และรังสรรค์ โฉมยา.(2550).“ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3”วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 13 – 14 พ.ศ.2550. หน้า 161 - 168.
ธีรดนย์ โพธิคำ, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน และรังสรรค์ โฉมยา.(2550).“อิทธิพลของความฉลาดทางเชาว์ปัญญา (IQ) ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ความฉลาดทางศีลธรรม และจริยธรรม (MQ) และความฉลาดในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค (AQ) ที่มีต่อเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน... ” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 13 – 14 พ.ศ.2550. หน้า 193 - 200.
เด็ดดวง ด่านวันดี, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน และรังสรรค์ โฉมยา.(2550).“การเปรียบเทียบพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการทำงานของสมอง (Brain-Based Learning) และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามปกติ” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 13 – 14 พ.ศ.2550. หน้า 209 - 216.
สุกัญญา กลางสุข, มนตรี อนันตรักษ์ และรังสรรค์ โฉมยา.(2550).“การเปรียบเทียบความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีเชาวน์ปัญญาและเชาวน์อารมณ์แตกต่างกัน” วารสารวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 13 – 14 พ.ศ.2550. หน้า 214 - 224.
สุภรณ์ ลิ้มอารีย์, พนม ลิ้มอารีย์, ชวลิต ชูกำแพง, ปริญดา ยะวงศา, รังสรรค์ โฉมยา และมะลิวัลย์ น้อยบัวทิพย์.(2549).“ครูในดวงใจ” วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ.2549. หน้า : 54 - 64.