Nuangchalerm, P., Prachagool, V., Abdurrahman, A. & El Islami, R.A.Z. (2019). Contribution of Integrated Learning through STEM Education in ASEAN Countries. Journal for the Education of Gifted Young Scientists. 7(3): (Accepted).
Wisetsat, C. & Nuangchalerm, P. (2019). Enhancing Innovative Thinking of Thai Pre-service Teachers through Multi-educational Innovations. Journal for the Education of Gifted Young Scientists. 7(3): (Accepted).
Khastini, R.O., Wahyuni, I., Saraswati, I., Alimuddin & Nuangchalerm, P. (2019). Ethonobotanical Study of Medicinal Plants utilized by the BaduyTribe used as a Learning Resource. Jurnal Pendidikan Biologi Indonesia. 5(2): 197-206.
Sagala, R., Nuangchalerm, P., Saregar, A. & El Islami, R.A.Z. (2019). Environment-friendly Education as Solution to Against Global Warming : A Case Study at Sekolah Alam Lampung, Indonesia. Journal for the Education of Gifted Young Scientists. 7(2): 85-97.
Nuangchalerm, P. & Prachagool, V. (2019). Preferred and Actual Opinions toward Inquiry-based Instruction of Primary Science Teachers in the Northeast of Thailand. Jurnal Penelitian dan Pembelajaran IPA. 5(1): 1-15.
Listiana, Abdurrahman, Suyatna, A. & Nuangchalerm, P. (2019). The Effect of Newtonian Dynamics STEM-integrated Learning Strategy to increase Scientific Literacy of Senior High School Students. Jurnal Ilmiah Pendidikan Fisika Al-Biruni. 8(1): 43-52.
Parmin, P., Nuangchalerm, P. & El Islami, R.A.Z. (2019). Exploring the Indigenous Knowledge of Java North Coast Community (Pantura) Using the Science Integrated Learning (SIL) Model for Science Content Development. Journal for the Education of Gifted Young Scientists. 7(1): 71-83.
Prachagool, V. & Nuangchalerm, P. (2019). Investigating the Nature of Science : An Empirical Report on the Teacher Development Program in Thailand. Jurnal Pendidikan IPA Indonesia. 8(1): 32-38.
Onsee, P. Nuangchalerm, P. (2019). Preliminary Study on Critical Thinking in Thai Youth Students. Proceeding of the 2019 International Conference on Education and Global Studies (IConEGS 2019). Sapporo-Japan, 19-21 January 2019. Pp. 138-142.
El Islami, R.A.Z. Nuangchalerm, P. & Sjaifuddin, S. (2018). Science Process of Environmental Conservation: A Cross National Study of Thai and Indonesian Pre-service Science Teachers. Journal for the Education of Gifted Young Scientists. 6(4): 72-80.
Pitiporntapin, S., Chantara, P., Srikoom, W., Nuangchalerm, P. & Hines, L. (2018). Enhancing Thai In-service Teachers’ Perceptions of STEM Education with Tablet-based Professional Development. Asian Social Science. 14 (10): 13-20.
Nuangchalerm, P. & El Islami, R.A.Z. (2018). Comparative Study between Thai and Indonesian Novice Science Teacher Students in Content of Science. Journal for the Education of Gifted Young Scientists. 6(2): 23-29.
Prasertsang, P. & Nuangchalerm, P. (2018). STEM Education as a Strategy for Enhancing Mathematical Achievement on Measurement. Journal of Education & Social Policy. 5(1): 130-134.
Nuangchalerm, P. & El Islami, R.A.Z. (2018). Context of Science on Environmental Conservation: Comparative Study between Thai and Indonesian Novice Science Teacher Students. Jurnal Penelitian dan Pembelajaran IPA. 4(1): 60-67.
Nuangchalerm, P. (2018). Investigating Views of STEM Primary Teachers on STEM Education. Chemistry: Bulgarian Journal of Science Education. 27(2): 208-217.
Dostál, J., Wang, X, A. Steingartner, W. & Nuangchalerm, P. (2017). Digital Intelligence-New Concept in Context of Future School of Education. Proceedings of ICERI2017 Conference. Seville, Spain. 16th-18th November 2017. Pp. 3706 - 3172.
Dostál, J., Wang, X., Nuangchalerm, P. Brosch, A. & Steingartner, W. (2017). Researching Computing Teachers’ Attitudes Towards Changes in the Curriculum Contents- An Innovative Approach or Resistance?. Proceeding of the 2nd International Conference on Informatics and Computing (ICIC APTIKOM 2017). Jayapura-Indonesia, 1-3 November 2017.
Nuangchalerm, P. & Dostál, J. (2017). Perception of Preservice Science Teachers in the Constructivist Science Learning Environment. Chemistry: Bulgarian Journal of Science Education. 26(3): 332-340.
Nuangchalerm, P. (2017). Preservice Teachers’ Twenty First Century Learning Skills: Three different Majors of Study. International Journal of Advanced and Applied Sciences. 4(7): 124-128.
Dostál, J., Wang, X. & Nuangchalerm, P. (2017). Experiments in Education Supported by Computer Use: Teachers’ Attitudes towards Computers. Proceeding of the 9th International Conference on Computer Supported Education (CSEDU 2017). Porto-Portugal, 21-23 April 2017. Pp. 248-254.
Maneerot, N. & Nuangchalerm, P. (2017). Implementing Inquiry-Based STEM Learning in Tenth Grade Students. Proceeding of the Asian Conference on Education & International Development (ACEID 2017). Kobe-Japan, 26-29 March 2017.
Nuangchalerm, P. (2017). Relationship between Preferred and Actual Opinions about Inquiry-based Instruction Classroom. European Journal of Science and Mathematics Education. 5(1): 67-73.
Nuangchalerm, P., Dostál, J. & Luo, X. (2016). Investigating Pre-service Secondary Science Teachers' Practices about Inquiry-based Instruction during School Practicum. Chemistry: Bulgarian Journal of Science Education. 25(4): 487-495.
Ritsreeboon, J. & Nuangchalerm, P. (2016). Promoting Bioethical Decision Making for Grade 10 Students through Socio-scientific Issues based Instruction. Proceeding of the Asian Conference on Education & International Development (ACEID 2016). Nagoya-Japan, 3-6 April 2016. Pp. 55-65.
Dostál, J., Nuangchalerm, P., Stebila, J. & Bal, B. (2016). Possibilities of Inducing Pupils’ Inquiry Activities during Instruction. Proceeding of the 8th International Conference on Computer Supported Education (CSEDU 2016). Rome-Italy, 21-23 April 2016. Pp.107-111.
Akarawang, C., Kidrakarn, P. & Nuangchalerm, P. (2016). Developing ICT Competency for Thai Teachers through Blended Training. Journal of Education and Learning. 10(1): 15-21.
Nuangchalerm, P. (2016). Local Service Learning in Teacher Preparation Program. Journal of Education and Learning. 10(1). 8-14.
Prachagool, V., Nuangchalerm, P., Subramaniam, G. & Dostál, J. (2016). Pedagogical Decision Making through the Lens of Teacher Preparation Program. Journal for the Education of Gifted Young Scientists. 4(1): 41-52.
Dostál, J., Janu, M., Bal, B., Nuangchalerm, P. & Stebila, J. (2016). Possibilities of Application of Inquiry-based Learning when Developing the Thinking of Pupils with Mild Intellectual Disability and Behaviour Disorders-Comparative Research. Proceeding of the 10th International Technology, Education and Development Conference (INTED 2016). Valencia-Spain, 7-9 March 2016. Pp. 8492 - 8499.
Panpimyai, A., Plienchote, S. & Nuangchalerm, P. (2015). Behavior of the Storage and Retrieval of information and University Archives: Problems and Needs of Information on a Network of Mahasarakham University Personnel. Proceeding of the General Congress of Southeast Asian Librarians (CONSAL) XVI, Bangkok-Thailand, 11-13 June 2015.
Akarawang, C., Kidrakarn, P. & Nuangchalerm, P. (2015). Enhancing ICT Competency for Teachers in the Thailand Basic Education System. International Education Studies. 8(6): 1-7.
Pharanat, W., Nuangchalerm, P. & Sonsupap, K. (2015). Promoting reasoned Argumentation in Science for Lower Secondary Students. Educational Research and Reviews. 10(3): 357-362.
Nuangchalerm, P. (2014). Service Learning in Science Teacher Preparation Program: Concepts and Practices. Chemistry: Bulgarian Journal of Science Education. 23(6): 815-828.
Nuangchalerm, P. (2014). Self-Efficacy and Civic Engagement in Undergraduate Students: Empirical Results of a Service Learning Program in Thailand. International Journal for Service Learning in Engineering. 9(2): 150-156.
Nuangchalerm, P., Sakkumduang, K., Uhwha, S. & Chansirisira, P. (2014). Implementing E-Learning Designed Courses in General Education. Asian Journal of Education and E-Learning. 2(4): 259-263.
Siribunnam, S., Nuangchalerm, P. & Jansawang, N. (2014). Socio-scientific Decision Making in the Science Classroom. International Journal for Cross-Disciplinary Subjects in Education. 5(4): 1777 - 1782.
Nuangchalerm, P. (2014). Inquiry-based Learning in China : Lesson learned for School Science Practices. Asian Social Science. 10(13): 64-71.
Nuangchalerm, P. (2014). Empowering Google, Youtube, and Facebook (GUF) in the Teacher Education Classroom. Proceeding of the 8th International Technology, Education and Development Conference (INTED 2014). Valencia-Spain, 10-12 March 2014, pp. 5272 - 5278.
Chimphali, K., Nuangchalerm, P. & Ladachat, L. (2013). Instructional Strategy for Promoting Understanding of Nature of Science. Proceeding of London International Conference on Education (LICE-2013). London-U.K., 4-6 November 2013, pp. 380-384.
Nuangchalerm, P. (2013). Engaging Nature of Science to Preservice Teachers through Inquiry-based Classroom. Journal of Applied Science and Agriculture. 8(3): 200-203.
Prasertsang, P. & Nuangchalerm, P. (2013). The Development of Service Learning Instructional Model for Pre-Service Teachers. Higher Education of Social Science. 4(3): 54-58.
Prasertsang, P., Nuangchalerm, P. & Pumipuntu, C. (2013). Service Learning and its Influenced to Pre-service Teachers: Social Responsibility and Self-efficacy Study. International Education Studies. 6(7): 144-149.
Nuangchalerm, P. & Chansirisira, P. (2012). Community Service and University Roles: An Action Research based on the Philosophy of Sufficiency Economy. US-China Education Review. 2(4): 453-459.
Nuangchalerm, P. (2012). Enhancing Pedagogical Content Knowledge in Preservice Science Teachers. Higher Education Studies. 2(2): 66-71.
Prachagool, V. & Nuangchalerm, P. (2012). Study on Group-based Problem-solving of Pre-service Teachers in Early Childhood Education Program. Journal of Applied Science Research. 8(3): 1642-1645.
Nuangchalerm, P. (2011). In-service Science Teaches’ Pedagogical Content Knowledge. Studies in Sociology of Science. 2(2): 33-37.
Nuangchalerm, P., Prachagool, V. & Sriputtha, P. (2011). Online Professional Experiences in Teacher Preparation Program: A Preservice Teachers Study. Canadian Social Science. 7(5): 116-120.
Chansirisira, P., Nuangchalerm, P., Khamkong, S. & Morakot, N. (2011). MSU-Test: A Tool for Measuring Students’ Achievement. Canadian Social Science. 7(5): 121-123.
Polyiem, T., Nuangchalerm, P. & Wongchantra, P. (2011). Learning Achievement, Science Process Skills, and Moral Reasoning of Ninth Grade Students Learned by 7E Learning Cycle and Socioscientific issues-based Learning. Australian Journal of Basic and Applied Science. 5(10): 257-264.
Wongchantra, P. & Nuangchalerm, P. (2011). Effects of Environmental Ethics Infusion Instruction on Knowledge and Ethics of Undergraduate Students. Research Journal of Environmental Sciences. 5(1): 73-77.
Nuangchalerm, P. (2010). Engaging Students to perceive Nature of Science through Socioscientific Issues-based Instruction. European Journal of Social Science. 13(1): 34-37.
Nuangchalerm, P. & Charnsirirattana, D. (2010). A Delphi Study on Brain-based learning in Science. Canadian Social Science. 6(4): 141-146.
Nuangchalerm, P. & Kwuanthong, B. (2010). Teaching “Global Warming” through Socioscientific issues-based Instruction. Asian Social Science. 6(8): 42-47.
Nuangchalerm, P. (2010). Internet User and Electronic Journals Perception: An Inservice Science Teacher Study. Journal of Applied Sciences Research. 6(5): 447-452.
Wongsri, P. & Nuangchalerm, P. (2010). Learning Outcomes of Socioscientific issues-based and Conventional Learning Activities. Journal of Social Sciences. 6 (2): 240-243.
Panasan, M. & Nuangchalerm, P. (2010). Learning Outcomes of Inquiry-based and Project-based Learning Activities. Journal of Social Sciences. 6 (2): 252-255.
Nuangchalerm, P. & Prachagool, V. (2010). Influences of Teacher Preparation Program on Preservice Science Teachers’ Beliefs. International Education Studies. 3(1): 87-91.
Nuangchalerm, P. & Prachagool, V. (2010). Promoting Transformative Learning of Preservice Teachers through Contemplative Practices. Asian Social Science. 6(1): 95-99.
Pangma, R., Tayraukham, S. & Nuangchalerm, P. (2009). Causal Factors Influencing Adversity Quotient of Twelfth Grade and Third-Year Vocational Students. Journal of Social Sciences. 5(4): 466-470.
Pimta, S., Tayruakham, S. & Nuangchalerm, P. (2009). Factors Influencing Mathematic Problem-Solving Ability of Sixth Grade Students. Journal of Social Sciences. 5(4): 381-385.
Phongutta, R., Tayraukham, S. & Nuangchalerm, P. (2009). Comparisons of Mathematics Achievement, Attitude towards Mathematics and Analytical Thinking between Using the Geometer's Sketchpad Program as Media and Conventional Learning Activities. Australian Journal of Basic and Applied Science. 3(3): 3036 - 3039.
Nuangchalerm, P. & Thamasena, B. (2009). Cognitive Development, Analytical Thinking, and Learning Satisfaction of Second Grade Students learned through Inquiry-based Learning. Asian Social Science. 5(10): 82-87.
Nuangchalerm, P. (2009). Preservice Teachers Perception about Nature of Science. The Social Sciences. 4(5): 463-467.
Nuangchalerm, P. (2009). Development of Socioscientific Issues-based Teaching for Preservice Science Teachers. Journal of Social Sciences. 5(3): 239-243.
Nuangchalerm, P. (2009). Implementing Professional Experiences to prepare Preservice Science Teachers. The Social Sciences. 4(4): 388-391.
Nuangchalerm, P. (2008.) Reinforcement of Science learning through Local Culture : A Delphi Study. Proceeding of the International Conference on Educational Leadership in Cultural Diversity and Globalization (ICFE). April 8-11, 2008. Phuket, Thailand. 414-417.
Phongutta, R., Tayraukham, S. & Nuangchalerm, P. (2008). Comparisons of Mathematics Achievement, Attitude towards Mathematics and Analytical Thinking between Using the Geometer's Sketchpad Program as Media and Conventional Learning Activities. Proceeding of the 6th International Conference on Education and Information Systems, Technologies and Applications (EISTA 2008). June 29 - July 2, 2008. Orlando, Florida, USA.
Wongchantra, P., Boujai, P., Sata, W. & Nuangchalerm, P. (2008). A Development of Environmental Education Teaching Process by Using Ethics Infusion for Undergraduate Students. Pakistan Journal of Social Sciences. 5(9): 941-944.
Nuangchalerm, P. (2007). Development of Indigenous Science Instructional Model. Proceeding of the 1st International Conference on Educational Reform 2007. November 9-11, 2007. Khon Kaen, Thailand. 329-340.
Nuangchalerm, P., Sangpradub, N. & Hanjavanit, C. (2006). Ecological Studies on a Tube-case Maker Setodes sp.1 (Trichoptera : Leptoceridae). in S. Uchida and T. Kishimoato (Editors). Biology of Inland Waters. Suppl. 1. Scientific Research Society of Inland Water Biology. Japan. pp. 3-8.
Nuangchalerm, P., Sangpradub N. & Hanjavanit C. Microhabitat and Diet of Leptocerus sp. in Phromlaeng and Yakruae Streams at Nam Nao National Park, Thailand. in Y.J. Bae (Editor). (2001). The 21st Century and Aquatic Entomology in East Asia. Korean Society of Aquatic Entomology, Korea. pp. 135-140.
รพีพล อินสุพรรณ ประสาท เนืองเฉลิม. (2563). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 15(2): (Accepted).
สุนิสา บางวิเศษ ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตาม แนวทางสะเต็มศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 13(3): (Accepted).
ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์ วาสนาไทย วิเศษสัตย์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). ผลการศึกษาความต้องการของการจัดการเรียนรู้เชิงนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู.วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต. 19(4): (Accepted)
วิลาสิณี พรรณะ ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 16(2): (Accepted).
วีรดนย์ หอมทอง ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). การพัฒนาแนวทางเสริมสร้างสมรรถนะด้านการทำงานเป็นทีมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 13(3): (Accepted).
กิตติยา ไชยคำภา ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). แนวทางการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 13(3): (Accepted).
นุจเนตร อินธิดา ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ และเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น กับการเรียนการสอนตามแนวคิดประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต. 19(1): 93-104.
เปรมสิณี ช่างยา
ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 13(1): 170-182.
ภูมรินทร์ เดียมขุนทด ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยการกิจกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสม์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 13(1): 206-217.
ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2562). การสังเคราะห์การคิดแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 16 (1): 451-464.
ประสาท เนืองเฉลิม วีณา ประชากูล. (2562). ความคิดเห็นของนิสิตครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่มีต่อหลักสูตรการผลิตครู. การประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชากาทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 6. วันที่ 12-13 มกราคม 2562. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. หน้า 69-75.
ลักคณา มหันต์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดแก้ปัญหา และพฤติกรรมเชิงจริยธรรมด้านความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม. วารสารครุพิบูล. 5 (Accepted).
รพีพล อินสุพรรณ จิรัฐิติพร จำนงค์ สุธิดา แสนวัง พีรดลย์ อ่อนสี ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). ความคิดเห็นต่อสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(2): 29-36.
ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). แนวทางการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต. 18 (4): 129-141.
ฐิติวรดา พลเยี่ยม ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). ผลการใช้หลักสูตรส่งเสริมประชาธิปไตย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12 (2) : 70-82.
กรชนก วุยชัยภูมิ ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแผนผังความคิด. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 15 (ฉบับพิเศษ) : 287-298.
วิทยา วรพันธุ์ ฐิติวรดา พลเยี่ยม ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). การประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารสาระคาม. 9(2): 79-91.
สายใจ ปินะกาพัง ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). รูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 13(2): 288-300.
ศิรินภา ชิ้นทอง ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์เรื่องปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12(1): 239-249.
จินตนา วิไลชนม์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). การพัฒนาความรับผิดชอบต่อสังคมโดยใช้กระบวนการกระจ่างค่านิยมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12(1): 73-83.
จตุพร พงศ์พีระ ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงมโนมติที่คลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารราชพฤกษ์. 15(3): 24-35.
ปชัญญะ ฐานันตะ วิไลวรรณ สุระวนิชกุล กมลภัทร พึ่งปาน ชัยวัฒน์ ยลรดีโฆษิต ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). ความพึงพอใจของนิสิตต่อการใช้บริการห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารวิชาการ ปขมท. 7(1): 22-27.
Worapun, W., Nuangchalerm, P., Marasri, A. (2560). Promoting Learning Achievement, Problem-solving, and Learning Curiosity of High School Students: Empirical Thai Study of Self-directed Learning in Physics Course. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 11(4): 97-110.
รัตน์ดาวัล วรรณปะเถาว์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา. 8(3): 137-147.
บดินทร์ ปัดถาวโร ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิทยาศาสตร์. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา. 8(3): 91-102.
ประสาท เนืองเฉลิม ปาริชาติ ประเสริฐสังข์. (2560). ความต้องการพัฒนางานวิชาการของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 4(3): 493-500.
Prachagool, V., Nuangchalerm, P. (2560). Twenty first Century Learning Skills of Non-Teaching License Teachers. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา. 8(2): 7-14.
จิตตรา พิกุลทอง ประสาท เนืองเฉลิม สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญานโดยใช้ยุทธศาสตร์เมตาคอกชันสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. 12(36): 55-68.
ฐิติวรดา พลเยี่ยม ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). แนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร. 11(1): 177-185.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). ทักษะการเรียนรู้ของครูวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 36(4): 109-117.
กมลรัตน์ ฉิมพาลี ประสาท เนืองเฉลิม ลือชา ลดาชาติ. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. 8(1): 85-100.
ประสาท เนืองเฉลิม ชัยธัช จันทร์สมุด. (2560). ความต้องการพัฒนางานวิชาการของอาจารย์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. วารสารสาระคาม. 8(1): 59-66.
Simmaroon, N., Phusee-orn, S., Nuangchalerm, P. (2559). Development of the Program for Enhancing Integrated Science Process Skills, Ability in Analyzing, and Scientific Mind of Mathayomsuksa 4 Students through the Integration of Authentic Assessment. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 22(2): 141-152.
ณัฐพงศ์ มณีโรจน์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ 2560.วันที่ 10 มีนาคม 2560. อาคารพจน์ สารสิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หน้า 1856-1860.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2559). การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามสภาพที่คาดหวังและสภาพที่เป็นจริงและความเข้าใจในเนื้อหาผนวกวิธีสอนของนิสิตครูวิทยาศาสตร์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 35(6): 127-134.
กฤติยา จงรักษ์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. 9(2): 96-106.
รุ่งทิวา การะกุล ประสาท เนืองเฉลิม. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 3(2): 38-53.
วิทยา วรพันธุ์ ประสาท เนืองเฉลิม อมร มะลาศรี. (2559). รูปแบบการเรียนรู้แบบนำตนเองวิชาฟิสิกส์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 11(2): 31-46.
สุปาณี วังกานนท์ ประสาท เนืองเฉลิม ปาริชาติ ประเสริฐสังข์. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาการคิดวิเคราะห์ตามหลักการของ Marzano สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 10(1): 200-210.
คมกริช จุกหอม ประสาท เนืองเฉลิม ปาริชาติ ประเสริฐสังข์. (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 10(1): 25-40.
เอกภพ โพธิจักร ประสาท เนืองเฉลิม นิคม ชมพูหลง. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะวิธีการทางประวัติศาสตร์ และความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ประวัติศาสตร์สุโขทัย ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(4): 212- 220.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยการบริการสังคมสำหรับนิสิตครูวิทยาศาสตร์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 9(19): 30-39.
ทัศนพร วิบูลย์อรรถ อาจินต์ ไพรีรณ ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเปรียบเทียบการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(3): 42-53.
รุ่งนภา กลิ่นกลาง อาจินต์ ไพรีรณ ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือกับทักษะปฏิบัติและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(3): 101-112.
พลศักดิ์ แสงพรมศรี ประสาท เนืองเฉลิม ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง และเจตคติต่อการเรียนเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษากับแบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9 (ฉบับพิเศษ พ.ศ. 2558): 401-418.
พัชรีวรรณ ช่างโม นงนิตย์ มรกต ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9 (ฉบับพิเศษ พ.ศ. 2558): 449-461.
สิริรัตน์ ใจทาน นงนิตย์ มรกต ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). รูปแบบการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9 (ฉบับพิเศษ พ.ศ. 2558): 825-842.
กมลพรรณ ขันทะศิริ ประสาท เนืองเฉลิม ประยูร วงศ์จันทรา. (2558). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม แบบสืบเสาะหาความรู้ และตามแนวคิดประเด็นทางวิทยาศาสตร์กับสังคม เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การรู้วิทยาศาสตร์ และการคิดตัดสินใจ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(2): 7-19.
บุษราคัม บุญกลาง ประสาท เนืองเฉลิม กมลหทัย แวงวาสิต. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และ เจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(2): 94-107.
สมจิตร สายบุญลี ประสาท เนืองเฉลิม วิเชียร สิทธิประภาพร. (2558). การพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน ที่มีต่อการอ่านจับใจความ การคิดวิเคราะห์ และเจตคติต่อการเรียนภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(2): 135-146.
สาริศา บุญแจ่ม ประสาท เนืองเฉลิม ประยูร วงศ์จันทรา. (2558). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ และแบบการบริการสังคม เรื่อง สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และจิตสาธารณะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(2): 147-158.
สร้อยฟ้า สามารถ ประสาท เนืองเฉลิม พัดตาวัน นาใจแก้ว. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เรื่อง วัสดุรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสมอง เป็นฐาน กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8(1): 43-54.
วราพร จิตร์เดียว ประสาท เนืองเฉลิม พัดตาวัน นาใจแก้ว. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบคิดแก้ปัญหาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8(1): 55-66.
ขวัญตา แสวงผล ประสาท เนืองเฉลิม พัดตาวัน นาใจแก้ว. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดแก้ปัญหา และเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นและการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 8(1): 10-24.
อรนุช ดมหอม ประสาท เนืองเฉลิม พัดตาวัน นาใจแก้ว. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดแก้ปัญหา และเจตคติ ต่อวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ 7 ขั้น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8(2): 109-120.
เข็มชาติ เข็มพิลา ประสาท เนืองเฉลิม พัดตาวัน นาใจแก้ว. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมี วิจารณญาณ และเจตคติต่อการเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระหว่างการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ 4 MAT และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ CIPPA. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8(2): 121-133.
ณัฐพล หงส์คง ประสาท เนืองเฉลิม พัดตาวัน นาใจแก้ว. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL และการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น. วารสารสิ่งแวดล้อมศึกษา-สสศท. 5(10): 140-149.
วันเพ็ญ อมรสิน สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). การศึกษาอัตลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารสาระคาม. 4(1): 81-93.
เนตรดาว มุ่งหมาย ประสาท เนืองเฉลิม ประยูร วงศ์จันทรา. (2556). ผลการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดพหุปัญญา เรื่องบรรยากาศในชีวิตประจำวัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 7(4): 123-132.
ภาลิณี ดวงเวียงคำ ประสาท เนืองเฉลิม ประยูร วงศ์จันทรา. (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดแก้ปัญหา และความคิดสร้างสรรค์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 7(4): 90-102.
รัตติยา สัจจภิรมย์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนรายวิชาหมวดศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฉบับพิเศษ). 318-323.
คมรัตน์ หลูปรีชาเศรษฐ รัตติยา สัจจภิรมย์ ประสาท เนืองเฉลิม. (2555). ปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อจิตสาธารณะของพนักงานมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฉบับพิเศษ). 324-330.
ศุภผล ไชยพันธ์ ประสาท เนืองเฉลิม ประยูร วงศ์จันทรา. (2555). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานและเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบลัดดาและแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 2(1): 58-64.
อดุลย์ ไพรสณฑ์ ประสาท เนืองเฉลิม สุมาลี ชูกำแพง. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ และเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการเรียนตามแนวคิด Backward Design กับการเรียนแบบปกติ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 5(1): 103-109.
วิยะดา ประทุมรัตน์ สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดหนองบัวลำภู. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 7(29): 129-136.
เฉลิมพล ตามเมืองปัก ชวลิต ชูกำแพง ประสาท เนืองเฉลิม. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL).วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 4(4): 33-41.
คมสันต์ เอ็นคะวัน สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2553). การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยข้อบกพร่องทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์เรื่องลำดับและอนุกรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 16: 229-234.
นิติยา กระชับกลาง ชวลิต ชูกำแพง ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถทางภาษาตามแนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ที่สอดคล้องสมองของเด็กปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 3(2): 65-72.
สาคร พิมพ์ทา สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การพัฒนาโมเดลปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (ฉบับพิเศษ 2552): 243-254.
อุสา รินลา พิศมัย ศรีอำไพ ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรู้แบบสตอรีไลน์และแบบสืบเสาะหาความรู้. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 3(3): 71-79.
รุจาภา ประถมวงษ์ สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) กับจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E). วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 1(1): 87-96.
รติพร ศรีลาดเลา ประสาท เนืองเฉลิม อดิศักดิ์ สิงห์สีโว. (2552). การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นและแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 11(3): 43-54.
ภฤดา เลียบสูงเนิน ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 28(2): 95-103.
สลักจิต สุขช่วย ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT กับผังมโนทัศน์ และการเรียนรู้แบบปกติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 28(2): 64-74.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). ความคิดเห็นและความต้องการของนิสิตครูวิทยาศาสตร์ที่มีต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 11(1): 47-60.
ทิฆัมพร ยุทธเสรี ประสาท เนืองเฉลิม. (2551). ผลการจัดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารนเรศวร พะเยา.1(3): 205-208.
ทัศน์มน หนูนิมิตร ประสาท เนืองเฉลิม ชวลิต ชูกำแพง. (2551). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักประกอบแผนผังความคิดและแบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(3): 57-65.
สิริลักษณ์ สายเพชร ประสาท เนืองเฉลิม. (2551). ผลการจัดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบโครงงาน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารนเรศวร พะเยา. 1(2): 167-170.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2551). การรับรู้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของครูวิทยาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(2): 35-45.
สุมาลี จุลลาศรี นิราศ จันทรจิตร ประสาท เนืองเฉลิม. (2551). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(2): 92-98.
สร้อยสุดา มาดี ประสาท เนืองเฉลิม ชวลิต ชูกำแพง. (2551). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างการเรียนรู้ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการและตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(4): 56-62.
รัชภูมิ แพงมา สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2551). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(1): 36-47.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2550). ความต้องการในการศึกษาต่อระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 1(2): 43-48.
ปฏิพัฒน์ อุดรไสว ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน ประสาท เนืองเฉลิม. (2550). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 26(4): 15-26.
เกิดศิริ ทองนวล ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน ประสาท เนืองเฉลิม. (2550). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 2. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12: 101-116.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2548). การบูรณาการความรู้พื้นบ้านกับการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อชุมชน: กรณีศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ป่าปู่ตา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 3(1): 17-30.
ประสาท เนืองเฉลิม นฤมล แสงประดับ ชุติมา หาญจวณิช. (2544). ความหลากชนิดและนิเวศวิทยาบางประการของแมลงหนอนปลอกน้ำวงศ์ Leptoceridae ในลำห้วยหญ้าเครือและห้วยพรมแล้ง อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว. 17(1): 56-64.